Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
2
3
4
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
สัมมนาสาธารณะ: บทบาทอุดมศึกษาในยุคประชาธิปไตยถดถอย การสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม
สัมมนาสาธารณะ: บทบาทอุดมศึกษาในยุคประชาธิปไตยถดถอย การสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม @ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
Apr 20 – Apr 21 all-day
สัมมนาสาธารณะ: บทบาทอุดมศึกษาในยุคประชาธิปไตยถดถอย การสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม @ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา | ตำบล ศาลายา | นครปฐม | ประเทศไทย
‘บทบาทของอุดมศึกษาในยุคประชาธิปไตยถดถอย’ กับหนทางในการสร้างพลเมืองสู่สังคม อุดมศึกษามีบทบาทและหน้าที่ที่สำคัญและมีลักษณะเฉพาะในทุกสังคม ซึ่งขอบเขตบทบาทของอุดมศึกษานั้นก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอย่างต่อเนื่อง แต่เดิมมหาวิทยาลัยในตะวันตกต่างก่อกำเนิดขึ้นในบริบทและอุดมการณ์ที่ต่างกัน มีเป้าประสงค์ของอุดมศึกษาที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการให้การศึกษาแบบศิลปะศาสตร์ (liberal arts education) เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของพลเมือง การมุ่งศึกษาวิจัย และการสร้างความเป็นเลิศในสาขาเฉพาะทาง ไปจนถึงการให้อุดมศึกษาเป็นแหล่งในการแสวงหาความรู้แบบเบ็ดเสร็จ และการสร้างความรู้เพื่อรับใช้สังคม ปัจจุบัน อุดมศึกษาถูกคาดหวังให้มีบทบาทในการผลิตองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งมหาวิทยาลัยในประเทศไทยก็ได้ให้ความสำคัญกับการให้การศึกษาเพื่อการมีงานทำของบัณฑิตรวม เน้นการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย โดยเป็นไปเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคเอกชนและอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามการพัฒนาให้บัณฑิตมีทักษะและความรู้ที่ตรงต่อความต้องการต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศยังคงเป็นความท้าทายของอุดมศึกษาไทย ในช่วงกว่าหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา ปฏิเสธไม่ได้ว่าประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้งและความรุนแรงในสังคม ซึ่งส่งผลให้เกิดการแบ่งแยกระหว่างประชาชนกลุ่มต่างๆ การถดถอยทางเศรษฐกิจและประชาธิปไตย และรัฐบาลมีความจำเป็นต้องเตรียมพลเมืองสำหรับสังคมที่มีความสลับซับซ้อนและมีผู้คนที่มีความแตกต่างหลายหลายในวิธีคิดและวิถีชีวิตมากขึ้น ในขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยในประเทศไทยยังไม่ได้ให้ความสำคัญมากนักกับการทำให้การเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาตอบโจทย์ของการสร้างพลเมืองที่มีทักษะและความรู้ ที่จำเป็นในสังคมประชาธิปไตยและการสร้างพลเมืองที่ใส่ใจในเรื่องความเป็นธรรม ด้วยเหตุนี้ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองประชาธิปไตย (Thai
21
22
23
24
25
26
27
28
29
เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย ปี 2
เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย ปี 2 @ Monash Univeristy
Apr 29 – May 5 all-day
เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย ปี 2 @ Monash Univeristy | Victoria | ออสเตรเลีย
โครงการ “เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย ปี 2” สนับสนุนโดย Department of Foreign Affairs and Trade (DFAT), Australia-ASEAN Council (AAC), Friedrich-Ebert-Stiftung Thailand Office. ทีมเรียนรู้จาก Thai Civic Education (TCE) : ครูประถม 1 คน มัธยม 3 คน อาจารย์ 4 มหาลัย และคนทำงานภาคสังคมด้านเด็กอีก 2
30