ทบทวนความหมายของคำว่า “พลเมือง” ด้วยสายตาใหม่ และก้าวต่อไปของกองทุนสื่อ ฯ

27 พฤษภาคม 2564 เวลา 15.00-16.30 น. มีการจัดเวทีสัมมนาวิชาการผ่านช่องทางออนไลน์ของเครือข่าย Thai Civic Education . โดยนำผลสรุปของโครงการ “การศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อออกแบบสื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น เพื่อความเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัล” มานำเสนอเพื่อเผยแพร่ผลลัพธ์ของงานการศึกษาแก่สาธารณะว่า กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จะมีส่วนสร้างความเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลของวัยรุ่นได้อย่างไร ท่ามกลางวิกฤตการช่วงชิงความหมายของคำว่าพลเมืองตามค่านิยม 12…

Civic Classroom ตอนที่ 13 : เมื่อแบบเรียนไม่มีประวัติศาสตร์

ครูตระการ ทนานทอง ครูในเครือข่าย Thai Civic ล้านนา และ โรงเรียนสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มองว่า การสร้างให้นักเรียนเป็นพลเมืองท้องถิ่นนั้น สามารถเริ่มต้นได้จากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์จากชุมชนของนักเรียนเอง ผ่านการลงไปสัมภาษณ์พูดคุย วิเคราะห์ข้อมูล แล้วสร้างความรู้เป็นของตัวเองขึ้น . เรามองว่าทั้งแบบเรียนและหลักสูตรไม่สามารถนำสิ่งที่โดดเด่นในท้องถิ่นชุมชนมาเป็นโจทย์ในการเรียนรู้ โดยเฉพาะประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่…

กรอบการจัดการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองโลก ( Education for Global Citizenship)

ท่ามกลางความท้าทายของโลกยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น วิกฤติผู้อพยพ การเหยียดเชื้อชาติและเพศ ความเหลื่อมล้ำที่ทวีความรุนแรงขึ้น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมไปถึงปัญหาความไม่เสมอภาคของสังคม ซึ่งประเด็นปัญหาดังกล่าวล้วนส่งผลต่อผู้คนทั้งในระดับท้องถิ่นและโลกไปพร้อมๆกัน . ดังนั้นจึงเป็นเรื่องท้าทายว่า ทิศทางการจัดการศึกษาควรเป็นไปอย่างไร ซึ่งในหนังสือ Global citizenship in the classroom –…

สร้างนักเรียนเป็นพลเมืองโลก ด้วย Why – Why -Why chain

เครื่องมือ Why – Why -Why chain หรือ “โซ่คำถามทำไม” เป็นเครื่องมือที่ส่งเริมให้ผู้เรียนได้คิดไปไกลกว่าแค่พื้นฐานสาเหตุในประเด็นต่างๆ แต่เป็นเครื่องมือที่ฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์จากเรื่องใกล้ในตัวระดับท้องถิ่นสู่ระดับโลก . การเริ่มต้นครูอาจให้นักเรียนจับเป็นคู่หรือตามความเหมาะสม เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนกันได้อย่างเต็มที่ รวมถึงมีกระดาษและอุปกรณ์ที่ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่คิดลงไป . วิธีการ 1.ครูหรือนักเรียนเริ่มเขียนประเด็นตั้งต้นในกล่องข้อความทางด้านซ้ายของกระดาษ ดังตัวอย่างในภาพ…

Teaching For Social Justice คืออะไร?

Teaching for Social Justice เป็นมุมมองการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้มองเห็นการกดขี่หรือความไม่เป็นธรรมทางสังคมทั้งในระดับปัจเจกและสังคม และพัฒนาสำนึกความเป็นพลเมืองของนักเรียน ให้กล้าลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงสังคมที่ไม่ยุติธรรม ซึ่งมุมมองดังกล่าวให้คุณค่าทางประชาธิปไตยเป็นพื้นฐานสำคัญ . ดังนั้น Teaching for Social Justice มีเป้าหมายผลักดันให้ครูและนักเรียนได้ร่วมสำรวจ พูดคุย และวิเคราะห์การกดขี่ผ่านมิติ ชนชั้น…

Civic Teacher ตอนที่ 9 การ์ตูนกับการสอนเรื่องพลเมือง

ทำไมต้องสอนเรื่องพลเมืองด้วยการ์ตูน การ์ตูนเรื่องอะไรบ้าง ที่ช่วยสร้างมุมมองพลเมืองประชาธิปไตย พบกับบทสัมภาษณ์ผู้ทำงานด้านพลเมือง ที่มาบอกเล่าความเห็นว่า การ์ตูนสามารถนำมาสอนเรื่องพลเมืองอย่างไรได้บ้าง . แด่วันสิทธิมนุษยชน ( Human Rights day) การ์ตูน เรื่อง เอคโค่ จิ๋วก้องโลก เรื่องราวการผจญภัยของเด็ก ๆ…

Civic Teacher ตอนที่ 8 : ทำไมโรงเรียนไทยต้องสอนเรื่องการสังหารหมู่ 6 ตุลา 2519

เหตุการณ์สังหารหมู่ 6 ตุลาคม 2519 สะท้อนอะไรได้บ้าง ? ทำไมโรงเรียนไทยต้องสอนเรื่องดังกล่าว ? แล้วครูจะสอนเรื่องนี้อย่างไรดี ? . อ่านบทสัมภาษณ์ Civic Teacher ตอนที่ 8 : ทำไมโรงเรียนไทยต้องสอนเรื่องการสังหารหมู่…

Civic Classroom ตอนที่ 6 : สร้างครูเริ่มต้นที่ประเด็นทางสังคม

ซัมซู สาอุ อาจารย์สาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผู้ขับเคลื่อนเครือข่าย Thai Civic Education ที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขามองว่า การสร้างครูต้องไม่ใช่แค่สอนได้อย่างเดียวเท่านั้น แต่ครูต้องเข้าใจเรื่องสิทธิความเป็นพลเมือง มองเห็นความไม่ยุติธรรมทางสังคม และเข้าไปมีบทบาทสำคัญในการผลักดัน เนื่องจากนักศึกษาที่สอนเป็นนักศึกษาศึกษาศาสตร์ และที่ทราบกันดีว่าความเป็นครูที่ผ่านมา…

Civic Teacher 6 : สอนอาเซียนอย่างไรดี ?

บทสัมภาษณ์ผู้ทำงานด้านพลเมือง ที่มาบอกเล่ามุมมองการสอนเซียนที่ไปถึงความเป็นพลเมืองโลก ให้ความสำคัญกับหลักสิทธิมนุษยชน และเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม การสอน “อาเซียนศึกษา” คงต้องย้ำตัวเองอยู่เสมอว่า เราสอนนักเรียนใน “ฐานะมนุษย์” ที่อยู่ใน “สังคมอาเซียน” เรียนรู้อย่างเข้าใจ เห็นอกเห็นใจ ภายใต้มุมมอง อัตลักษณ์หรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้คนในพื้นที่ต่างๆของอาเซียน สิ่งนั้นจะทำให้นักเรียนรู้จักส่งเสริมซึ่งกันและกัน รวมถึงอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม __…

1 2 3 4 5 12