บทสัมภาษณ์พิเศษ ครูษุรพีฐ์ บุญคง เนื่องในวันประชาธิปไตยสากล

ก่อนถึงวันประชาธิปไตยสากล 15 กันยายนนี้ คาดหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยอย่างไรบ้าง? ครูษุรพีฐ์ บุญคง: โดยส่วนตัวเชื่อว่าประชาธิปไตยที่ดีเริ่มต้นจากที่บ้าน ดังนั้นถ้าพ่อแม่รับฟังความคิดเห็นและเคารพการตัดสินใจของลูก โดยยอมเปิดใจและยอมรับฟังความต้องการที่แท้จริงของลูก จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการสร้างรากฐานประชาธิปไตยที่ยั่งยืนให้เกิดขึ้นกับพลเมืองคนหนึ่งต่อไปในวันข้างหน้า การสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทยจะเกิดขึ้นได้ง่ายมาก ถ้าเด็กมาจากครอบครัวที่มีพื้นฐานความเป็นประชาธิปไตยแล้วส่งต่อมายังโรงเรียนที่ส่งเสริมประชาธิปไตย สุดท้ายวิธีคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนก็จะเป็นตัวขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลงสังคม บทสัมภาษณ์พิเศษ ครูษุรพีฐ์ บุญคง โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก…

บทสัมภาษณ์พิเศษ ครูอดิศร เนตรทิพย์ เนื่องในวันประชาธิปไตยสากล

ก่อนถึงวันประชาธิปไตยสากล 15 กันยายนนี้ คาดหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยอย่างไรบ้าง? ครูอดิศร เนตรทิพย์: ส่วนตัวผมยึดมั่นในทฤษฎี พลเมือง 3 แบบ ของ Joel Westheimer มาก ทุกวันในการทำหน้าที่ครูของผมผมพยายามเพื่อจะสร้างพลเมืองทั้ง 3 แบบให้เกิดขึ้นในตัวลูกศิษย์ของผม คือ…

เศรษฐศาสตร์การเมือง ความเหลื่อมล้ำ และไม่เป็นธรรมทางสังคม

โดย ผศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี บทความจากเวทีอบรมพัฒนา “ครูกับการสร้างพลเมืองประชาธิปไตย” ณ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 23-26 กรกฎาคม 2561 ชีวิตที่ดีคืออะไร? ถ้าเราขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน เราจะมีชีวิตที่ดีได้จริง ๆ…

วัฒนธรรมประชาธิปไตยกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง

โดย ผศ.ดร.วรรณภา ติระสังขะ การมีส่วนร่วมทางการเมืองเกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วสังคมแบบไหนที่เอื้อให้เกิดการเมืองแบบมีส่วนร่วมได้? การมีส่วนร่วมทางการเมือง คือ การแสดงออกซึ่งสิทธิตามธรรมชาติของมนุษย์ ในประเทศที่มีพื้นที่ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองมาก แสดงให้เห็นว่าวัฒนธรรมการเมืองในประเทศนั้นมีความเป็นประชาธิปไตยสูง เพราะมีพื้นที่ที่แสดงความเคารพต่อเสียงข้างน้อยได้มาก การปลูกฝังวัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย (Democratic Political Culture) สามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ ต้องยอมรับในขั้นแรกว่า “ความขัดแย้ง”…

ความหลากหลายทางวัฒนธรรม สังคมพหุนิยม กับประชาธิปไตย

โดย รศ.ดร. ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ในเมื่อคนเรามีความแตกต่างหลากหลาย สังคมประชาธิปไตยควรมีหน้าตาแบบไหนจึงจะทำให้เราอยู่ต่อไปด้วยกันได้? อคติในสังคมทำให้เราให้คุณค่าของ “ความแตกต่าง” ไม่เท่ากัน เราอดทนอดกลั้นกับความแตกต่างไม่ได้ และผลักให้คนที่คิดต่างและไม่เหมือนเราอยู่ในขั้วตรงข้ามเสมอ การตีตราประณาม กีดกัน และบังคับให้เกิดการหลอมรวมนำมาซึ่งความทุกข์ ความรุนแรงและความแตกแยกในสังคม ยกตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมในโรงเรียนที่เน้นการบังคับหลอมรวมให้นักเรียนทุกคนมีลักษณะเหมือน ๆ…

กระบวนการเรียนรู้ภูมิศาสตร์ (geo literacy) กับการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง

geo literacy เป็นเครื่องมือที่สำคัญของการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง ในประเด็นของการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการแสวงหาผลประโยชน์ที่ไม่เท่าเทียม ในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดความขัดแย้งและความรุนแรงที่จะเกิดขึ้น   ครูจักรกฤษณ์ คิดว่า กระบวนเรียนรู้ภูมิศาสตร์ (geo literacy) สัมพันธ์กับการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองอย่างไร สำหรับผมแล้ว กระบวนเรียนรู้ภูมิศาสตร์ หรือ geo literacy…

‘แรงงาน’ กับมุมมองเรื่องความเป็นธรรมทางสังคม

  ปฏิกิริยาของผู้คนในสังคมสื่อถึงอุดมคติเกี่ยวกับสังคมที่ดีของเราเอง สำหรับฝ่ายที่ไม่ค่อยเข้าข้างแรงงาน มักมองว่าความไม่เท่าเทียมเป็นธรรมชาติของการแข่งขัน  หากเราเชื่อในเสรีนิยมในทางเศรษฐกิจก็จำต้องยอมรับว่าการแข่งขันย่อมทำให้เกิดคนที่ชนะและคนที่แพ้อย่างเลี่ยงไม่ได้…แต่หากเราเชื่อว่ามันไม่แฟร์สำหรับการเลือกเกิดไม่ได้ ก็ย่อมเลือกที่จะหาทางแก้ไขสภาพดังกล่าว ตราบใดที่เรายังไม่สามารถไปพ้นจากระบบการผลิตแบบนี้ได้    ทำไมจึงคิดว่าประเด็นเรื่องแรงงานเป็นเรื่องสำคัญที่จำเป็นต้องนำมาถกเถียงพูดคุยกัน? จะตอบคำถามข้างต้นได้ตรงกับที่คิด อาจต้องทำสองเรื่องให้ชัดคือ แรงงานที่ว่าคือคนกลุ่มไหน และสำคัญในประเด็นอะไร เรื่องใด ประเด็นแรก แรงงานสำหรับผมอยู่ในความหมายเฉพาะกลุ่มคนบางพวก และเป็นบทบาท/สถานะของพวกเขาภายใต้ระบบการผลิตแบบนี้เท่านั้น ประเด็นที่สอง แรงงานมีความสัมพันธ์กับมิติของการผลิต…

บทวิจารณ์สารคดีเรื่อง “The Graduation (2015)”

ถ้าเราลองให้อาจารย์ด้านการกำกับภาพยนตร์ได้ออกแบบระบบคัดเลือกนักเรียนที่ในอนาคตจะมีโอกาสเป็นผู้สร้างภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จอย่าง สตีเวน สปีลเบิร์ก ฟรานสิส คาโปลา หรือนัฐวุฒิ พูนพิริยะ คุณคิดว่าเราจะได้ระบบแบบไหนออกมา? คำตอบหนึ่งที่เป็นไปได้คือการให้นักเรียนทั้งหมดที่สนใจเรียนด้านภาพยนตร์ทำข้อสอบระดับชาติที่เป็นคำถามปรนัย นำคะแนนมาคัดเลือกคนเข้าเรียน โดยคาดหวังว่านักเรียนที่ทำข้อสอบได้คะแนนดีจะสั่งสมความชอบและความสามารถเพียงพอที่จะเป็นคนทำหนังที่ดีได้ในระหว่างที่เขาเรียนอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาซึ่งในความเป็นจริงแล้วเขาอาจแค่สมัครเรียนตามกระแสสังคมโดยไม่รู้ว่าตนเองสนใจอะไร สารคดีเรื่อง the Graduation เสนอให้เราเห็นทางออกอีกทางหนึ่งที่ดูจะเป็นขั้วตรงข้ามกับทางแรก ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้ติดตามระบบการคัดเลือกสุดโหดหินของโรงเรียน La Fémis…

School Life

สารคดีเรื่อง School Life ฉายภาพชีวิตประจำวันของนักเรียนประถมในโรงเรียนประจำ Headfort ที่ตั้งอยู่ในประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งมีเด็กนักเรียนทั้งจากในพื้นที่ และเด็กต่างชาติที่อาจมาจากแดนไกล เช่น ประเทศแทนซาเนีย และเกาหลีใต้ สารคดีบอกเล่าเรื่องราวตลอดหนึ่งปีการศึกษา และแสดงให้เราเห็นภาพชีวิตที่เต็มไปด้วยสีสันของชีวิตนักเรียนทั้งเก่าและใหม่  School life ทำให้ชวนเราคิดถึงเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน และการจัดการสภาพแวดล้อมโรงเรียนที่ส่งผลต่อการตัวตน ความคิดสร้างสรรค์…

บทสัมภาษณ์วันสากลแห่งการยุติการแบ่งแยกเชื้อชาติ (4)

ครู ต้องเป็นแบบอย่างในการเห็นคุณค่าของทุก ๆ คนที่แตกต่างกัน และให้ความแตกต่างนั้นอยู่รวมกันในสังคมได้ ต้องออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนเห็นคุณค่าของคำว่า มนุษย์ ที่เท่าเทียมกัน จะเอารูปลักษณ์ภายนอก ชาติกำเนิด ถิ่นอาศัย หรือจุดด้อยของคนอื่น มาตัดสินแบ่งชนชั้นกันไม่ได้   มีประสบการณ์พบเจอการเหยียดผิว/เหยียดชาติจากนักเรียน หรือสังคมในโรงเรียนบ้างไหม ครูคมเพชร: เนื่องจากผมสอนคือโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์…

1 10 11 12 13 14 20