“11 เรื่องราว การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง” ประจำปี 2021

รวมบทสัมภาษณ์ Civic Space เรื่องราวความคิดเห็น ทั้ง 11 ประเด็นจากนักเรียน ครู อาจารย์ นักการศึกษา และนักกิจกรรม ที่เราเชื่อว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของการแลกเปลี่ยน ถกเถียง ตั้งคำถาม หรือสร้างความเข้าใจ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาพลเมืองประชาธิปไตยในมิติที่หลากหลายสำหรับปี 2022 ที่กำลังจะมาถึง…

12 ห้องเรียน สร้างพลเมืองประชาธิปไตย

รวบรวมบทสัมภาษณ์ Civic Classroom ตลอดปี 2021 ทางเราหวังว่า เรื่องราวทั้ง 12 ห้องเรียนจากครู อาจารย์ และนักกิจกรรม จะเป็นแรงบันดาลใจ ความเป็นไปได้ใหม่ และความหวัง ให้สำหรับใครหลายๆคนในการทำงานการศึกษาเพื่อประชาธิปไตยและความเป็นธรรม ในปี 2022 ที่กำลังมาถึง…

บทสัมภาษณ์ Civic Classroom ตอนที่ 20 : บทเรียนวิชาสังคมที่ว่าด้วยเรื่องเพศ ศาสนา และความไม่เป็นธรรม

หลายคนก็อินไปด้วยเพราะว่าบางเหตุการณ์อย่างการโทษเหยื่อก็ยังเป็นปัญหาร่วมที่คนในสังคมไทยเราเจอเหมือนกัน เราชวนคุยต่อว่าวัฒนธรรมชายเป็นใหญ่นี่มาจากความเชื่อแบบไหน นักเรียนค้นๆ กันต่อไปแน่นอนก็จะไปเจอว่าคำสอนแบบขงจื้อมีอิทธิพลมากกับการสร้างวัฒนธรรมนี้ในเกาหลี แต่มันไม่จบเท่านั้น ความไม่เท่าเทียมทางเพศที่มักจะถูกนำเสนอในแง่ปัญหาเชิงวัฒนธรรมหรือความเชื่อทางศาสนา อาจเป็นแค่ภาพลวงตาเพื่อให้กติกาของเกมที่ใหญ่กว่ายังคง Function ต่อไปก็ได้ บทสัมภาษณ์ Civic Classroom ตอนที่ 20 : บทเรียนวิชาสังคมที่ว่าด้วยเรื่องเพศ ศาสนา และความไม่เป็นธรรม โดย…

Civic space ตอนที่ 11 มองการสร้างพลเมืองเชิงวัฒนธรรม ผ่าน การจัดการศึกษาชายแดน

เวลาเรามองผู้เรียน เราไม่สามารถมองว่าเขามาโรงเรียนเพียงตัวเปล่า แต่เด็กมีภูมิหลังทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ความคิดหรือความเป็นชาติพันธุ์ของเขาข้ามเข้ามาในพื้นที่ของโรงเรียนด้วย บทสัมภาษณ์ Civic space ตอนที่ 11 มองการสร้างพลเมืองเชิงวัฒนธรรม ผ่าน การจัดการศึกษาชายแดน อาจารย์วสันต์ สรรพสุข ที่พาให้เรากลับมาตั้งคำถามว่า เรานิยามความเป็นพลเมืองผ่านการจัดการศึกษาอย่างไร เมื่อเราดูพื้นที่ชายแดนหรือการศึกษาชายแดน…

Civic Classroom ตอนที่ 19 : พิพิธภัณฑ์สามัญชน พื้นที่การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน

พิพิธภัณฑ์สามัญชน พื้นที่ที่ทำให้ห้องเรียนพลเมืองประชาธิปไตย ไม่จำเป็นต้องอยู่ในโรงเรียนเสมอไป . Civic Classroom ตอนที่ 19 : พิพิธภัณฑ์สามัญชน พื้นที่การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ฉบับประชาชน อานนท์ ชวาลาวัณย์ ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์สามัญชน . เยี่ยมชนออนไลน์ได้ที่ : https://commonmuze.com/ ผมในฐานะคนเรียนประวัติศาสตร์…

Civic space ตอนที่ 10 กระบวนการสืบสอบปรัชญากับสร้างพลเมืองประชาธิปไตย

ปรัชญาเป็นเรื่องของผู้ใหญ่จริงเหรอ ? การสืบสอบปรัชญาคืออะไร เด็กสามารถเรียนรู้ได้ไหม ? แล้วสิ่งนี้สำคัญอย่างไรกับกาสร้างพลเมืองประชาธิปไตย ? . บทสัมภาษณ์ Civic space ตอนที่ 10 อาจารย์วัชรฤทัย บุญธินันท์ จากสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล ที่จะมาบอกเล่าถึง…

Civic Classroom ตอนที่ 18 : เรียนรู้รัฐสวัสดิการผ่านเกม

อาจารย์รับขวัญ มองว่า การจะทำให้ผู้เรียนได้มองเห็นความแตกต่างระหว่างสังคมที่มีรัฐสวัสดิการกับไร้รัฐสวัสดิการได้นั้น เกมถือเป็นหนึ่งในเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยสร้างสถานการณ์จำลองของการสนทนา พูดคุย ตั้งคำถาม และรับรู้ความรู้สึกระหว่างทำกิจกรรม เพื่อนำมาไปสู่การมองเห็นความเป็นได้ในการสร้างสังคมที่ดีกว่า _ ดาวน์โหลดไฟล์เกมได้ที่ : https://wefair.org/the-capital/ ที่มาของเกมเริ่มจากงานวิจัยของเราที่ทำเรื่อง “การแสดงความสุขในโลกเสรีนิยมใหม่” ซึ่งเรามองว่าความสุขมันถูกใช้เยอะมาก โดยเฉพาะในวงการเศรษฐศาสตร์หรือจิตวิทยาที่จะชอบวัดความสุขของคน แต่จริงๆแล้ว คำถามหลักของงานวิจัยคือ แล้วถ้าคนอยู่ในสภาวะที่เปราะบาง…

Civic space ตอนที่ 9 : มองการสร้างพลเมืองผ่าน Multicultural Education (การศึกษาพหุวัฒนธรรม )

โดย อาจารย์นันท์นภัส แสงฮอง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . หากถามว่า การศึกษาพหุวัฒนธรรมคืออะไร อาจไม่ได้มีนิยามที่ตายตัว ยังมีการถกเถียงเกี่ยวกับคำนี้อย่างต่อเนื่อง และการจะนิยามคำ ๆ ว่าคืออะไร ก็ขึ้นอยู่บริบททางสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของแต่ละพื้นที่หรือแต่ละประเทศด้วย อย่างไรก็ตาม อยากจะชวนมาดูที่เป้าหมายของการศึกษาพหุวัฒนธรรมแทนการดูนิยาม…

Civic classroom ตอนที่ 17 ห้องเรียนสิทธิมนุษยชน

ห้องเรียนของอาจารย์พัทธ์ธีรา ได้หยิบยกเรื่องราวของคนไร้รัฐพลัดถิ่นมาเป็นประเด็นหลักในการสอน เพื่อพาให้ผู้เรียนได้สำรวจ ตั้งคำถาม และสะท้อนคิดกับคุณค่าความสำคัญของสิทธิมนุษยชนของตนเองและผู้อื่น เราได้มีโอกาสสอนในวิชา “สังคม สงครามและสันติ (มสสศ 102)” เป็นวิชาที่วางอยู่บนมุมมองสหวิทยาการทางสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ สิทธิมนุษยชน ความรุนแรงและสันติภาพ เป้าหมายก็เพื่อสร้างพลเมืองที่ตระหนักรู้เท่าทันและเป็นผู้ที่สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไปในทางที่สันติและเป็นธรรมมากขึ้น ซึ่งประเด็นหนึ่งที่หยิบมาสอนคือเรื่องของสิทธิคนไร้รัฐพลัดถิ่น เพราะเราจะเห็นข่าวการละเมิดสิทธิของพลเมืองที่อยู่ตามชายขอบชายแดนประเทศ ทั้งที่เป็นกลุ่มคนที่อยู่มานาน…

Civic Space ตอนที่ 8 : หลักสูตรสมรรถนะกับการสร้างพลเมือง

เฉลิมชัย พันธ์เลิศ ผู้อำนวยการสถาบันสังคมศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ได้มาบอกเล่าให้เห็นภาพว่า ทิศทางหลักสูตรสมรรถนะที่กำลังจะเกิดขึ้นนี้ อาจเปลี่ยนมุมมองการสร้างพลเมือง โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น Active Citizen ขณะเดียวกันบทบาทการสร้างพลเมือง อาจไม่จำกัดอยู่เพียงครูสังคมศึกษาและวิชาหน้าที่พลเมืองอีกต่อไป แต่ครูทุกคนก็สามารถสร้างพลเมืองได้เช่นกัน Q 1 : ทำไมต้องเปลี่ยนเป็นหลักสูตรสมรรถนะ…

1 2 3 12