บทสัมภาษณ์วันสากลแห่งการยุติการแบ่งแยกเชื้อชาติ (2)

การสร้างนักเรียนให้รู้สึกว่าคนเราทุกคนต่างก็เท่าเทียมกัน ทุกเพศ ทุกชาติ ทุกศาสนา ในชีวิตจริงเราไม่สิทธิ์สามารถที่จะตัดสินเลือกปฏิบัติต่อใครคนใดคนหนึ่งเพียงเพราะเขาแตกต่างจากเรา   มีประสบการณ์พบเจอการเหยียดผิว/เหยียดชาติจากนักเรียน หรือสังคมในโรงเรียนบ้างไหม ครูทิญาณี: เหยียดสีผิวไม่มีค่ะ แต่เหยียดชาติเคยเจอในห้องเรียนกับเด็กที่เป็นต่างชาติมาเรียนในบ้านเรา ครูจะมีส่วนช่วยถ่ายทอดค่านิยมเรื่องการไม่เหยียดผิว/เหยียดชาติได้อย่างไร กระบวนการเรียนการสอนที่จะช่วยให้เด็กเข้าใจประเด็นนี้มากขึ้นสามารถเป็นรูปแบบใดได้บ้าง ครูทิญาณี: ใช้เกมสถานการณ์จำลองโดยเน้นความตระหนักในประเด็นสิทธิเสรีภาพ โดยสมมุติเหตุการณ์ทัวร์ท่องเที่ยวทั่วโลกกับเรือเจ้าสำราญโดยโดยมีตัวละครดังกล่าวล่องเรือในมหาสมุทรแปซิฟิก มีตัวละคร ได้แก่ เด็ก สตรี คนชรา คนติดเชื้อ HIV ทหาร  ครู  ตำรวจ  ชาวต่างชาติ ช่างเครื่อง คนขับเรือ…

บทสัมภาษณ์วันสากลแห่งการยุติการแบ่งแยกเชื้อชาติ

การเหยียดเชื้อชาติหรืออะไรก็ตาม เป็นการทำให้ผู้ที่ถูกกระทำกลายเป็นสิ่งที่แปลกแยก แตกต่างในแบบที่ด้อยคุณค่า พร้อมกับสร้างมาตรฐานคุณค่าของกรอบการเป็นมนุษย์ที่ดีไว้ไม่กี่แบบ     บทสัมภาษณ์ ‘ครูพล’ อรรถพล ประภาสโนบล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี เนื่องในวันสากลแห่งการยุติการแบ่งแยกเชื้อชาติ (21 มีนาคม) กับบทบาทของครูและวิชาสังคมศึกษาในการสร้างค่านิยมเรื่องการยุติการเหยียดผิวและเหยียดเชื้อชาติ เข้าใจว่าการเหยียดผิว/เหยียดชาติ คืออะไร มีลักษณะแบบไหนบ้าง…

บันทึกแอนน์ แฟร้งค์

  สมุดบันทึกปกผ้าลายสก๊อตสีขาวแดงของแอนน์ แฟร้งค์ เป็นบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องลับที่หลบซ่อนจากการจับกุมของทหารนาซี ในตึกเลขที่ ๒๓๖ ถนนพริ้นเซ่นกรัคต์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ บันทึกอันยอดเยี่ยมนี้ได้รับการยกย่องไปทั่วโลก และแปลออกไปเป็นหลายภาษา กล่าวได้ว่าเป็นวรรณกรรมเอกชิ้นหนึ่ง ว่ากันว่าหากเธอมีชีวิตอยู่จะเป็นนักเขียนที่สร้างสรรค์ผลงานที่ล้ำค่าให้แก่โลกนี้ได้อีกมากมาย   แอนน์ แฟร้งค์ เขียนบันทึกวันสุดท้าย เมื่อวันที่…

เสียงที่อยู่ในสายลม

…บางทีอาจไม่ใช่แค่คำตอบที่ล่องลอยอยู่ในสายลมแบบที่เพลงของบ็อบ ดีแล่นว่าไว้ มนุษย์โหดเหี้ยมต่อกัน ร้ายต่อกันแค่ไหน พยายามปกปิด บิดเบือนประวัติศาสตร์เพียงใด สุดท้ายก็ยังมีธรรมชาติร่วมรู้เห็นเป็นประจักษ์พยาน ขวามือไกล ๆ ในภาพ คือ ห้องรมแก๊ส ซ้ายมือ ด้านหน้าคือส่วนหนึ่งของเตาเผา เมื่อรถไฟมาถึงเอาช์วิตช์ ผู้โดยสารทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ จะโดนกวาดต้อนลงมาตั้งแถวที่ชานชาลา และถูกแบ่งเป็นสองกลุ่มทันที นั่นคือ กลุ่มที่…

อุดมศึกษากับการพัฒนาความเป็นพลเมือง: แนวคิดและผลการศึกษาเบื้องต้นจาก 6 มหาวิทยาลัยไทย

เอกสารประกอบการบรรยาย สัมมนาสาธารณะ “บทบาทอุดมศึกษาในยุคประชาธิปไตยถดถอย:การสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายทางเศรษฐกิจและการสร้างความเป็นธรรมทางสังคม” วันที่ 20-21 เมษายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ดร.วัชรฤทัย บุญธินันท์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ดาวน์โหลด pdf  

โครงการอบรมการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง

เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการอบรมโครงการอบรมการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง ณ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

Power point การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาวิทยากรกระบวนการ “สิทธิมนุษยชนศึกษาและความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

power point สิทธิมนุษยชนศึกษา http://www.mediafire.com/view/eknpxu15yntocg4/HRE.ppt   power point ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ http://www.mediafire.com/view/fb0wlgghv95ijpc/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%20%20%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%8E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4.ppt