Civic Classroom ตอนที่ 10 : สอนการเมืองจากสิ่งใกล้ตัว

ครูชมภ์พลอย จิตติแสง ครูสอนวิชาสังคม ที่นำเอาประเด็นทางสังคมจากรอบตัวเด็ก มาเป็นโจทย์สำคัญให้นักเรียนได้เห็นความสำคัญของการเมืองผ่านการตั้งคำถาม แลกเปลี่ยน และเชื่อมโยงกับความไม่เป็นธรรมจากประสบการณ์ในชีวิตของนักเรียน เรามองว่า การสอนเรื่องการเมือง ควรเริ่มจากการทำให้เด็กตั้งคำถามถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมจากสิ่งที่อยู่ในกระแสสังคมหรือสิ่งที่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น การวิ่งขอรับบริจาค การเข้าคิวนานเพื่อรอรับการรักษา เป็นต้น เพราะว่าเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้เกี่ยวข้องกับปัญหาเชิงโครงสร้างที่เหลื่อมล้ำ ดังนั้นการสอนควรทำให้นักเรียนเห็นว่าโครงสร้างทางการเมืองและสังคมส่งผลกระทบต่อตัวนักเรียนอย่างไร…

Civic space ตอนที่ 2 จากเหตุการณ์โลก เราจะสอนเรื่อง Empathy

เนื่องในวันแห่งความรัก หลายคนอาจมีคำถามว่า เราจะสร้างให้นักเรียนมีความรักในความยุติธรรมได้อย่างไร ทักษะ Emphaty หรือ การเข้าใจความรู้สึกผู้อื่น ถือเป็นหนึ่งทักษะสำคัญที่จะช่วยให้นักเรียนได้เข้าใจความหลากหลาย การถูกเลือกปฏิบัติ หรือความไม่เป็นธรรมผ่านโลกของผู้อื่น ซึ่งจะนำมาสู่การลงมือเพื่อสร้างสังคมที่ยุติธรรม ดังนั้น Civic Space ตอนที่ 2 จึงได้รวบรวมความเห็นของผู้ทำงานด้านการศึกษา ที่บอกเล่าถึงความสำคัญของทักษะดังกล่าว…

สร้างนักเรียนเป็นพลเมืองโลก ด้วย Why – Why -Why chain

เครื่องมือ Why – Why -Why chain หรือ “โซ่คำถามทำไม” เป็นเครื่องมือที่ส่งเริมให้ผู้เรียนได้คิดไปไกลกว่าแค่พื้นฐานสาเหตุในประเด็นต่างๆ แต่เป็นเครื่องมือที่ฝึกให้นักเรียนคิดวิเคราะห์จากเรื่องใกล้ในตัวระดับท้องถิ่นสู่ระดับโลก . การเริ่มต้นครูอาจให้นักเรียนจับเป็นคู่หรือตามความเหมาะสม เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนกันได้อย่างเต็มที่ รวมถึงมีกระดาษและอุปกรณ์ที่ให้นักเรียนเขียนสิ่งที่คิดลงไป . วิธีการ 1.ครูหรือนักเรียนเริ่มเขียนประเด็นตั้งต้นในกล่องข้อความทางด้านซ้ายของกระดาษ ดังตัวอย่างในภาพ…

Civic Classroom ตอนที่ 9 : อคติทางวัฒนธรรมสลายด้วยการสนทนา

ครูทิชานนท์ ชุมแวงวาปี โรงเรียนเพ็ญพิทยาคม เขาเริ่มเห็นว่า อคติทางวัฒนธรรมส่งผลต่อชีวิตเด็กลูกครึ่งในโรงเรียนและชุมชน ด้วยเหตุนี้ ครูทิวจึงได้ใช้กระบวนการสนทนา เพื่อสร้างพื้นที่พูดคุย สื่อสาร และรับฟัง ระหว่างเด็กกลุ่มหลักและเด็กลูกครึ่งในโรงเรียน ส่งผลให้การล้อเลียน ดูถูก อัตลักษณ์ความเป็นลูกครึ่งค่อยๆสลายลงไป เราเริ่มมองเห็นว่า ในชุมชนที่เด็กอาศัยอยู่นั้น เป็นชุมชนอีสานที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะประเด็นการแต่งงานข้ามชาติ…

‘ReThink Urban Spaces’ หรือ RTUS ริทัศน์

มูลนิธิการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองไทย (Thai Civic Education Foundation) สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและมูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย) รู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับทุนจากสหภาพยุโรปสำหรับโครงการ ‘ReThink Urban Spaces’ หรือ RTUS ริทัศน์ . โครงการนี้เน้นการสร้างพื้นที่แลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่มเยาวชนจากสหภาพยุโรปและประเทศไทย ในประเด็นการพัฒนาพื้นที่เมืองและพื้นที่สาธารณะบนพื้นฐานของแนวคิด…

Civic space ตอนที่ 1 วันเด็กแห่งชาติ 2564 จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคำขวัญมาจากคนรุ่นใหม่ ?

คำขวัญวันเด็กที่ควรจะเป็น ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ ? . Civic space ตอนที่ 1 เราเชื่อว่า คำขวัญวันเด็กควรเป็นสิ่งที่คนรุ่นใหม่ สามารถเขียนขึ้นเองได้ เพื่อแสดงถึงความคาดหวังที่มีต่อระบบการศึกษาและสังคมที่พวกเขาอยู่ ทางเราจึงได้รวมความเห็นของคนรุ่นใหม่ทั้ง 3 คน ผู้ซึ่งเคยผ่านชีวิตในโรงเรียนมาไม่นาน ที่มาบอกเล่าความปรารถนาที่อยากเห็นสังคมดีขึ้น ผ่านคำขวัญวันเด็ก…

2020 ในมุมมอง Civic Teachers

ตลอดทั้งปีที่ผ่านมา มีทั้งเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นมากกมายในสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็น โควิด 19 การประท้วงของประชาชนเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย ตลอดจนการลุกขึ้นมาตั้งคำถามถึงเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และคุณค่าของสังคมที่เป็นสากล ซึ่งทั้งหมดนี้ทางเราได้รวบรวมมุมมองของครูและผู้ขับเคลื่อน Civic Education ที่ต่างได้ให้มุมมอง ไอเดีย ผ่าน 9 ประเด็น .…

8 ครูรุ่นใหม่ 8 ห้องเรียนประชาธิปไตย

ก่อนสิ้นปี 2020 ทางเราได้รวบรวมเรื่องราวห้องเรียนประชาธิปไตยของ 8 คนรุ่นใหม่ ที่เต็มไปด้วยมุมมอง วิธีการ และรูปธรรมในการสร้างพลเมืองประชาธิปไตยหลากหลายมิติ . Civic Classroom ตอนที่ 1 : เมื่อพหุวัฒนธรรม ความเป็นธรรม พลเมืองโลกสอนผ่านประเด็นศาสนา ครูธนัญญา…

Teaching For Social Justice คืออะไร?

Teaching for Social Justice เป็นมุมมองการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้มองเห็นการกดขี่หรือความไม่เป็นธรรมทางสังคมทั้งในระดับปัจเจกและสังคม และพัฒนาสำนึกความเป็นพลเมืองของนักเรียน ให้กล้าลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงสังคมที่ไม่ยุติธรรม ซึ่งมุมมองดังกล่าวให้คุณค่าทางประชาธิปไตยเป็นพื้นฐานสำคัญ . ดังนั้น Teaching for Social Justice มีเป้าหมายผลักดันให้ครูและนักเรียนได้ร่วมสำรวจ พูดคุย และวิเคราะห์การกดขี่ผ่านมิติ ชนชั้น…

ข้อความตอนหนึ่งจากเวทีเสวนา “พลเมืองประชาธิปไตยและพลังขับเคลื่อนสังคมของเยาวชน”

RETHINK การเปลี่ยนจากการสอน “วิชาพลเมือง” เป็นการสอน “สิทธิและหน้าที่พลเมือง” REDUCE การลดความเหลื่อมล้ำ อคติ และวัฒนธรรมอำนาจนิยมในระบบการศึกษา และระบบการเมืองโดยรวม REBUILD การสร้างและฟื้นฟูความไว้วางใจและความเข้าใจซึ่งกันและกัน และสร้างพื้นที่ปลอดภัยในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น RE-EDUCATE เราทุกคนต้องให้การศึกษาใหม่แก่ตัวเอง และยังต้องสื่อสารกับคนรอบข้างและเรียนรู้ไปพร้อมกัน REDESIGN เพื่อสร้างพลเมืองแบบประชาธิปไตย…

1 2 3 4 5 6 20