เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย รุ่นที่ 2 (ตอนจบ)

เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย รุ่นที่ 2 (ตอนจบ) 29 เมษายน ถึง 5 พฤษภาคม 2017 วันที่ 3 พฤษภาคม 2017 สถานที่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยโมนาช วันนี้เป็นวันที่ได้มีโอกาสเข้ารับฟังการบรรยายของ…

เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย รุ่นที่ 2 (ตอนแรก)

เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย รุ่นที่ 2 (ตอนแรก) 29 เมษายน ถึง 5 พฤษภาคม 2017 โครงการนี้มีเป้าหมายเพื่อที่จะพัฒนาความร่วมมือระหว่างครูผู้สร้างพลเมืองในประเทศออสเตรเลียและในประเทศไทย โดยร่วมมือกับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยโมนาช ครูระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในรัฐวิกตอเรีย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยมูลนิธิฟรีดริค เอแบรท์…

โครงการอบรมการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง

เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการอบรมโครงการอบรมการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง ณ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

DCE Talk #2 ป๋วยอึ๊งภากรณ์กับทัศนะทางการศึกษา

DCE Talk #2 ป๋วยอึ๊งภากรณ์กับทัศนะทางการศึกษา  “การศึกษาไทยใครว่าขาดความคิดดีๆ” 1 เมษายน 2560 13:00- 17:00 น. Ease café ซอยอารีย์ เจือจิตร กรุงเทพฯ ความเป็นมาของหนังสือ “ป๋วย…

DCE Talk #1 “ว่าด้วยการศึกษาฟินแลนด์ไม่มีคำว่าปาฏิหาริย์สำหรับการเปลี่ยนแปลง”

บทสรุปการเปิดวงคุยเกี่ยวกับการศึกษาใน Finland ผ่านหนังสือ “Finnish lessons 2.0” วันที่ 4 กุมภาพันธ์ ร้าน ease cafe & coworking space ดาวน์โหลด pdf ดาวน์โหลด…

เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย เล่มที่1

หนังสือรวมบทความ เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย เล่มนี้เป็นความพยายามสรุปบทเรียนจากการศึกษาดูงานของคณะครู และนักการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองที่ได้รับโอกาสเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับ ดร.เดวิด ซิงเยอร์ มหาวิทยาลัยโมนาช จากการสังเกตการณ์ชั้นเรียน ประถม มัธยม การแลกเปลี่ยนกับคณาจารย์มหาวิทยาลัย ตัวแทนพรรคการเมือง รวมถึงผู้รับผิดชอบงานด้านหลักสูตรของมลรัฐและตัวแทนหลักสูตรพื้นฐานจากสถาบัน ACARA ถึงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่มีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ดาวน์โหลด pdf ดาวน์โหลด…

ห้องสมุดและการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวา

ภาพห้องสมุดในหัวเรามักจะเป็นแหล่งเก็บรวบรวมหนังสือและทรัพยากรการเรียนรู้มากกว่าแหล่งให้บริการพื้นที่เพื่อการเรียนรู้หรือไม่ เหตุใดความเป็นทางการจึงถูกเชื่อมโยงเข้ากับการใช้บริการห้องสมุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้องสมุดประจำมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญของสังคมไทย ไม่แน่ใจว่าการเข้าห้องสมุดกลายเป็นเรื่องยากขนาดนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่ เพียงตั้งใจว่าจะไปใช้ห้องสมุด แสดงว่าวันนี้ต้องเตรียมเสื้อผ้าหน้าผมให้พร้อม! เราจะพาคุณย้อนกลับไปสู่แนวคิดเริ่มแรกของห้องสมุดในสยาม ทำความเข้าใจวัฒนธรรมการอ่านก่อนที่ทุกคนจะเข้าถึงการศึกษา แล้วกลับมาในปัจจุบันที่ห้องสมุดหลายแห่งไม่ได้มีเพียงหนังสือไว้บริการ แต่ยังเปิดพื้นที่และให้อิสระผู้ใช้งานในการสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบที่พวกเขาต้องการ ประเด็นเหล่านี้คือที่มาของเสวนาในหัวข้อ ‘ห้องสมุดกับพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้’ ร่วมจัดโดย Thai Civic Education กลุ่มการศึกษาเพื่อความเป็นไท…

1 6 7 8 9 10 12