Civic Teacher ตอนที่ 5 : อ่านเล่มไหนดี เมื่อต้องทำงานด้านการศึกษา

หนังสือเล่มไหน พาให้เราเข้าใจประวัติศาสตร์การสร้างพลเมือง หนังสือเล่มไหน พาให้เรามองเห็นแนวทางในการสร้างห้องเรียนประชาธิปไตย หนังสือเล่มไหน พาให้เราอยากลงมือเปลี่ยนแปลงแปลงสังคมให้ดีขึ้นกว่าเดิม . อ่านเล่มไหนดี ? เมื่อต้องทำงานด้านการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง Democracy and National Identity in Thailand เขียนโดย Michael…

Civic Teacher ตอนที่ 4 “24 มิถุนายน 2475 เริ่มต้นสอนเรื่องนี้อย่างไรดี”

ต้องยอมรับว่าการสอนเรื่อง 24 มิถุนายน 2475 เป็นเรื่องท้าทายในสังคม แต่อย่างไรก็ดี การสอนเรื่องดังกล่าวสามารถสอนโดยใช้วิธีชี้ชวนให้เป็นประเด็นถกเถียงในชั้นเรียน . กล่าวคือ ชักชวนให้นักเรียนใช้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล นำข้อมูลหลายๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับตัวละครในประวัติศาสตร์ดังกล่าว มาศึกษา พูดคุย แลกเปลี่ยน โดยครูไม่ควรเป็นผู้สรุปเรื่องราว แต่เปลี่ยนบทบาทจากผู้เล่าประวัติศาสตร์เป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ ชักชวนให้เกิดการคิด…

สอน เพื่อประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน

สอนเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน : แนวคิดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนศึกษา Education for Democratic Citizenship and Human Right Education (EDC/HRE) . ความท้าทายของโลกในศตวรรษที่ 21 ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ การเหยียดเชื้อชาติ เพศ…

Civic classroom ตอนที่ 4 การสอนประชาธิปไตยไม่ใช่แค่เนื้อหา

Civic classroom ตอนที่ 4 การสอนประชาธิปไตยไม่ใช่แค่เนื้อหา อ.อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อาจารย์ที่สอนให้นักศึกษาครูมองเห็นเรื่องการเมืองและประชาธิปไตยที่ตั้งต้นจากหลักสูตรการศึกษา และสิ่งใกล้ตัว ด้วยคำถามๆง่ายๆว่า “สังคมแบบไหนที่เราจะอยู่ หรือสังคมในอุดมคติของเรามันมีหน้าเป็นแบบไหน” การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยเป็นโจทย์ที่ท้าทายหนึ่งของการศึกษาไทยในช่วงของการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองในประเทศ และท่ามกลางสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นโจทย์ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยในประเทศที่ไม่เป็นประชาธิปไตยและประชาธิปไตยได้กลายเป็นสิ่งน่ารังเกียจของคนบางส่วนในสังคมจึงเป็นความท้าทายอย่างยิ่งต่อผู้สอน .…

Webinar ครั้งที่ 2 “การศึกษาทางไกล ไหวไหมพ่อแม่”

วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา เครือข่ายการศึกษาจัดเวที EDU Webinar ครั้งที่ 2 “การศึกษาทางไกล ไหวไหมพ่อแม่” ว่าด้วยการเตรียมความพร้อมของพ่อแม่เมื่อต้องรับมือกับการเรียนทางไกลและการเรียนออนไลน์ที่บ้านของลูก ๆ หลังเริ่มประกาศให้มีการเรียนผ่าน DLTV และในแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ…

จะเกิดอะไรขึ้นกับเด็กคนนี้? ทำอย่างไรให้ชั้นเรียนเต็มไปด้วยคำถาม

ความสามารถในการตั้งคำถามด้วยตัวเองเป็นสิ่งจำเป็นต่อทำให้นักเรียนเป็นคนที่เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งจำเป็นต่อการเป็นพัฒนาความเป็นปัจเจกที่สามารถคิดและค้นคว้าหาคำตอบเองได้และย่อมสำคัญต่อพลเมืองประชาธิปไตยที่ต้องแข็งขันในการหาความรู้และข้อมูลอยู่เสมอ . ครูส่วนใหญ่เข้าใจข้อดีของการให้นักเรียนตั้งคำถามเองได้ และก็หวังให้นักเรียนตั้งคำถามในชั้นเรียน แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงก็คือช่วงการถามคำถามมักไม่ได้สปอตไลท์ในชั้นเรียน การให้นักเรียนถามคำถามมักจะเป็นช่วงเสริมเพื่อฆ่าเวลาตอนท้ายคาบ หรือถามเพื่อเช็คความเข้าใจเท่านั้นเอง . ลองนึกดูครับ พอถึงท้ายคาบเราก็จะถามว่า “อ้าว มีใครมีคำถามอะไรไหม?” ทั้งที่เราก็รู้ว่านักเรียนอยากจะเลิกเรียนแล้วเดินไปเรียนวิชาอื่น หรือท้ายการนำเสนอหน้าชั้นเรียน เราถามนักเรียนว่า “มีใครมีคำถามให้เพื่อนไหม” ทั้งๆ…

4 ข้อเดินหน้าระบบการศึกษาไทยในยุคโควิด -19

1) เปลี่ยนระบบการศึกษาให้เป็นสิทธิที่เข้าถึงได้ทุกคน 2) ปรับหลักสูตรที่ยืดหยุ่น ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ 3) เริ่มต้นสร้างวัฒนธรรมปกติแบบใหม่ 4) กระจายอำนาจสู่โรงเรียน __ จากเวที EDU WEBINAR “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 1 “ผลกระทบวิกฤตโควิด-19: โรงเรียนควรจะเดินหน้าต่ออย่างไร?”…

5 ผลกระทบโควิด-19 ต่อการศึกษาไทย

1) ความเหลื่อมล้ำปรากฏชัดขึ้น 2) ท้าทายหลักแนวคิดการจัดการศึกษาแบบเดิม 3) ครู นักเรียน ผู้ปกครองปรับตัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 4) ระบบการศึกษาภายใต้ระบบราชการถูกตั้งคำถาม 5) ข้อมูลเข้ามามีส่วนสำคัญในวางนโยบายการศึกษา __ จากเวที EDU WEBINAR “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่…

สรุปเวที EDU WEBINAR “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 1 “ผลกระทบวิกฤตโควิด-19: โรงเรียนควรจะเดินหน้าต่ออย่างไร?” [2]

ดร. เฉลิมชัย พันธ์เลิศ ผู้อำนวยการ​สถาบันสังคมศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ให้ข้อมูลว่า ทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ. ) และทางกระทรวงศึกษา เริ่มต้นนโยบายจากแนวคิดที่ว่าระบบการศึกษาของเราตอนนี้มีต้นทุนหรือทรัพยากรใดบ้าง ซึ่งพบว่าที่ผ่านมามีการจัดการเรียนการสอนผ่าน DLTV ดังนั้นทางกระทรวงศึกษาธิการจึงมีแนวคิดต่อยอดจากจุดนี้เพื่อให้ทั่วถึงมากขึ้น ที่ผ่านมาต้นทุนอย่าง DLTV มีเพียงในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น…

สรุปเวที EDU WEBINAR “ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 1 “ผลกระทบวิกฤตโควิด-19: โรงเรียนควรจะเดินหน้าต่ออย่างไร?”

ณัฏฐเมธร์ ดุลคนิต ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพฯ เขต 1 เห็นว่า ที่ผ่านมาครูทั้งประเทศได้มีการรับฟังแนวทางการจัดการเรียนด้วย DLTV จาก สพฐ. ไปเบื้องต้นแล้ว ซึ่งการเรียนด้วยDLTV ได้กลายเป็นตุ้นทุนหลักจากส่วนกลางที่จัดสรรมาให้โรงเรียน และเป็นต้นทุนให้คุณครูในแต่ะละโรงเรียนนำไปใช้ในการบริหารจัดการในรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ โดยมีผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นผู้สนับสนุน . จึงมองว่า…

1 2 3 4 5 6 12