Civic Classroom ตอนที่ 5 “เรียนเศรษฐศาสตร์ผ่านมายาคติโง่จนเจ็บ”

ครูจักรกฤษณ์ ต่อพันธ์ จากโรงเรียนหนองบัวแดงวิทยา ครูชาวอีสานที่สร้างบทเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทยให้เชื่อมโยงถึงชีวิตนักเรียน ที่สำคัญเขานำเอามายาคติโง่จนเจ็บที่ฝังรากลึกมานาน มาให้นักเรียนได้วิเคราะห์ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่อยากเห็น เราเริ่มต้นเปิดคลิป “อีสานในความทรงจำและวันพรุ่งนี้” ให้นักเรียนดู เพื่อให้เขาสะท้อนความคิดออกมาว่า เศรษฐกิจและสังคมของภาคอีสานเป็นอย่างไร จากนั้นชวนเขาเปรียบเทียบถึงอดีต ปัจจุบัน และจินตนาการถึงอนาคตของอีสานว่าจะเป็นอย่างไร เพื่อให้นักเรียนได้วิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจและการพัฒนางประเทศไทยกับบทบาทของการเป็นพลเมือง โดยมองผ่านสองมุมมอง…

จากเสียงสะท้อนเด็กและเยาวชนสู่ 4 แนวทางการจัดการศึกษาในยุคหลังโควิด -19

1.ระบบการศึกษาควรทำให้ผู้เรียนเข้าใจความไม่เท่าเทียม ความเหลื่อมล้ำทางทางสังคมที่เกิดขึ้น . 2.ครูและบุคคลการทางการศึกษา ควรเข้ามามีบทบาทสำคัญการผลักดันสร้างสังคมที่เท่าเทียม . 3.ความเท่าเทียมทางการศึกษา ต้องนับรวมการเข้าถึงเทคโนลยี ไฟฟ้า อินเทอร์เน็ต และสิ่งพื้นฐานจำเป็นอื่นๆ . 4.มีระบบกลไกที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในพื้นที่การศึกษามากขึ้น _____ สรุปเวที“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 4 “หวัง…

4 ข้อคิดเห็นจากเยาวชนระบบการศึกษาแบบไหน ที่จะพาไปถึงความฝันได้ ?

1.สร้างพื้นที่ปลอดภัยและเป็นมิตร ควรสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าที่จะแลกเปลี่ยน ตั้งคำถาม ลงมือเรียนรู้ รวมถึงมีพื้นที่ของการรับฟัง สนับสนุน และให้คำแนะนำ ที่วางอยู่บนความสัมพันธ์ที่เป็นมิตร . 2.หลักสูตรที่ออกแบบเองได้ ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบหลักสูตรการเรียนที่เหมาะสมกับเป้าหมายของตนเอง เพราะแต่ละคนมีความถนัด ความสนใจ แตกต่างกันออกไป . 3.ส่งเสริมทักษะที่จำเป็นในการใช้ชีวิต ควรส่งเสริมทักษะการคิด ทักษะการวางแผน…

สรุปเวที“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 4

“หวัง ฝันเอาไว้แล้วจะไปยังไงต่อ: เสียงสะท้อนของเยาวชนต่ออนาคตหลังโควิด 19” เมื่อภาวะวิกฤตส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนในวงกว้าง เด็กและเยาวชนก็เป็นหนึ่งในกลุ่มที่ได้รับผลกระทบในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็น การศึกษา การใช้ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม ครอบครัว ฯลฯ ในการเสวนาครั้งที่ผ่าน ๆ มาของกิจกรรม “EDU Webinar…

Civic Teacher ตอนที่ 5 : อ่านเล่มไหนดี เมื่อต้องทำงานด้านการศึกษา

หนังสือเล่มไหน พาให้เราเข้าใจประวัติศาสตร์การสร้างพลเมือง หนังสือเล่มไหน พาให้เรามองเห็นแนวทางในการสร้างห้องเรียนประชาธิปไตย หนังสือเล่มไหน พาให้เราอยากลงมือเปลี่ยนแปลงแปลงสังคมให้ดีขึ้นกว่าเดิม . อ่านเล่มไหนดี ? เมื่อต้องทำงานด้านการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง Democracy and National Identity in Thailand เขียนโดย Michael…

4ข้อเสนอเชิงนโยบายการศึกษากับการสนับสนุนบทบาทชุนชนท้องถิ่นในการจัดการศึกษา

1.กระจายอำนาจสู่ชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้คนในพื้นที่ได้บริหาร ตัดสินใจ การจัดการศึกษาได้อย่างตรงบริบท . 2.ส่งเสริมให้เกิดการการเรียนรู้บนฐานชุมชน ซึ่งจะเอื้อให้เกิดวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันทั้งครู พ่อแม่ และคนในท้องถิ่นชุมชน . 3.สร้างกลไกการบริหารงานที่ยืดหยุ่น ที่จะทำให้การการกระจายอำนาจสู่ชุมชนท้องถิ่นได้มีการบริหารจัดการศึกษาที่คำนึงถึงนักเรียนในพื้นที่เป็นสำคัญ . 4.สนับสนุนให้มีการวิจัยหรือถอดชุดความรู้ เกี่ยวกับการจัดการศึกษาของชุมชนท้องถิ่นต่างๆ เพื่อนำมาเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาการศึกษา สรุปเวที“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่…

6 บทบาทของชุมชนท้องถิ่นกับการสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน

1.สร้างพื้นที่พูดคุยปัญหาร่วมกัน ซึ่งพื้นที่การพูดคุยควรเปิดให้มีคนในชุมชนจากหลายฝ่าย หลากหลายช่วงวัย มากำหนดปัญหาร่วมกัน โดยอยู่บนหลักการที่ว่าชุมชนท้องถิ่นทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน . 2.สำรวจต้นทุนทรัพยากรที่มีอยู่ เป็นการสำรวจทรัพยากรในรูปแบบต่างๆจากพื้นที่ชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และภาครัฐ เพื่อนำมาประเมิน วางแผน และใช้เป็นต้นทุนหลักในการออกแบบการศึกษา . 3.พัฒนาหลักสูตรที่อิงบนฐานชุมชน นำเอาชุดความรู้ชุมชนท้องถิ่นที่มีมาผนวกเชื่อมโยงกับสาระการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือองค์ความรู้สากล เพื่อให้นักเรียนได้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน…

Civic Teacher ตอนที่ 4 “24 มิถุนายน 2475 เริ่มต้นสอนเรื่องนี้อย่างไรดี”

ต้องยอมรับว่าการสอนเรื่อง 24 มิถุนายน 2475 เป็นเรื่องท้าทายในสังคม แต่อย่างไรก็ดี การสอนเรื่องดังกล่าวสามารถสอนโดยใช้วิธีชี้ชวนให้เป็นประเด็นถกเถียงในชั้นเรียน . กล่าวคือ ชักชวนให้นักเรียนใช้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล นำข้อมูลหลายๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับตัวละครในประวัติศาสตร์ดังกล่าว มาศึกษา พูดคุย แลกเปลี่ยน โดยครูไม่ควรเป็นผู้สรุปเรื่องราว แต่เปลี่ยนบทบาทจากผู้เล่าประวัติศาสตร์เป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ ชักชวนให้เกิดการคิด…

Webinar ครั้งที่ 3 “บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรู้”

สรุปเวที“ปรับเรียนเปลี่ยนรู้” ครั้งที่ 3 บทบาทชุมชนกับการสนับสนุนการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนในภาวะวิกฤต” เมื่อการศึกษาในภาวะวิกฤตไม่ควรถูกมอบอำนาจให้โรงเรียนเป็นผู้จัดการแต่เพียงฝ่ายเดียว ชุมชนจึงเป็นอีกหนึ่งกลไกในการดูแลการศึกษาของเด็กและเยาวชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ ในวันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน 2563 เวลา 13.30-15.30 น โดยมีคุณฐปนีย์ เอียดศรีไชย เป็นผู้ดำเนินรายการ . เวทีนี้มีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายบทบาท…

สอน เพื่อประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน

สอนเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน : แนวคิดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนศึกษา Education for Democratic Citizenship and Human Right Education (EDC/HRE) . ความท้าทายของโลกในศตวรรษที่ 21 ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ การเหยียดเชื้อชาติ เพศ…

1 4 5 6 7 8 20